โครงงาน


1.ชื่อโครงงาน
บทเรียนออนไลน์เรื่อง พลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก
2.ประเภทโครงงาน
โครงงานพัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
3.ชื่อผู้จัดทำ
นายพีระพล สุระกา
4.ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา
              อาจารย์ อุไรวรรณ โสภา
5.ความเป็นมาและความสำคัญของโครงงาน
การศึกษาเป็นกระบวนในการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ที่สำคัญอย่างยิ่งในการพัฒนาคนให้ความรู้ซึ่งในปัจจุบันการเรียนรู้ผ่านเครือข่ายคอมพิวเตอร์อินเทอร์เน็ตหรืออินทราเน็ตผู้เรียนสามารถเรียนรู้ได้ตามความสามารถและความสนใจโดยเนื้อหาภายในบทเรียนนอกประกอบไปด้วยข้อความ รูปภาพ เสียงและมัลติมีเดียต่างๆอีกทั้งบทเรียนออนไลน์สามารถเรียนรู้ได้ทุกเวลาและทุกสถานที่
ผู้จัดทำโครงงานจึงมีความสนใจที่จะพัฒนาบทเรียนออนไลน์เรื่อง พลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลกเพื่อศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมเรื่อง พลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก ให้มีความรู้ความเข้าใจพัฒนาศักยภาพของตนเองให้มีความเข้าใจมากขึ้น
6.วัตถุประสงค์ของโครงงาน
6.1 เพื่อวิเคราะห์และออกแบบบทเรียนออนไลน์เรื่อง พลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก
6.2 เพื่อพัฒนาบทเรียนออนไลน์เรื่อง พลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก
 6.3 เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาบทเรียนออนไลน์เรื่อง พลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก
7.ขอบเขตโครงงาน
7.1 ความสำคัญของพลเมืองดี
7.2 คุณลักษณะพลเมืองดี
7.3 แนวทางการพัฒนาตนเป็นพลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก
7.4 คุณธรรม จริยธรรมของการเป็นพลเมืองดีของประเทศชาติและสังคมโลก
7.5 บทบาทหน้าที่ของพลเมืองดีต่อประเทศชาติและสังคมโลก
8.ขั้นตอนการดำเนินโครงงาน
8.1 การวิเคราะห์ระบบ
8.2 การออกแบบระบบ
8.3 การพัฒนาระบบโดยใช้โปรแกรมและประเภท CMS และโปรแกรมประยุกต์
8.4 การติดตั้งระบบโดยใช้ http://www.blogger.com
8.5 การบำรุงรักษาระบบ

9.แผนการดำเนินโครงงาน




10.ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
   10.1 สามารถวิเคราะห์และออกแบบออนไลน์เรื่องความปรองดอง สมานฉันท์
   10.2 สมารถเขียนแนวทางพัฒนาโปรแกรม CMS
11.งบประมาณ
-
12.ทฤษฏีที่เกี่ยวข้อง
บทเรียนออนไลน์ E-learning หรือ ( electronic learning ) คือการเรียนรู้ผ่านอิเล็กทรอนิกส์ซึ่งเป็นการนำเทคโนโลยีโดยเฉพาะอินเตอร์เน็ตมาใช้ส่งเสริมการเรียนการสอนให้เกิดประสิทธิผล
มัลติมีเดีย  คือระบบซึ่งข้อมูลข่าวสารหลายชนิดโดยผ่านสื่อทางคอมพิวเตอร์ซึ่งประกอบด้วย ข้อความ ภาพ เสียง ภาพเคลื่อนไหว และวิดีโอหรือวีดีทัศน์ผสมผสานโดยผ่านกระบวนการทางระบบคอมพิวเตอร์เพื่อสื่อความหมายอย่างมีปฏิสัมพันธ์
13.สถาบันหรือหน่วยงานที่ให้การสนับสนุน
ห้องคอมพิวเตอร์ในห้องปฏิบัติการโรงเรียนพระแสงวิทยา
14.เอกสารอ้างอิง
           1.พิมลพรรณ ประเสริฐวงษ์ เรพเพอร์ และคณะ.เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารม.5.กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน์,2560
           2.ศ.ดร.กระมล ทองธรรมชาติ และคณะ.หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม.กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน์,2560
            3. https://mapichatblog.wordpress.com [ 25 January 2018]
            4. https://prezi.com/flgf-cfvvlpw/presentation/ [25 January 2018]



ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น